เทอร์ราคลอร์ ซุปเปอร์-เอ็กซ์ (Terraclor Super-X)
เทอร์ราคลอร์ ซุปเปอร์-เอ็กซ์ (Terraclor Super-X)100cc 500cc 1000cc
"เทอร์ราคลอร์ ซุปเปอร์-เอ็กซ์" สารกำจัดโรคพืชที่เกิดจากเชื้อราได้อย่างเฉียบพลัน เทอร์ราคลอร์ ซุปเปอร์-เอ็กซ์ (Terraclor Super-X)
ชื่อสามัญ : ควินโตซีน (quintozene) + อีไตรไดอะโซล (etridiazole)………...........………… 24% + 6% W/V EC กลุ่มสาร : Aromatic hydrocarbon [กลุ่ม 14]
คุณสมบัติ :
- ประกอบด้วยสารป้องกันกำจัดโรคพืช 2 ชนิด เสริมฤทธิ์ซึ่งกันและกัน ช่วยให้กำจัดเชื้อราสาเหตุโรคพืชได้อย่างเฉียบพลัน
- ออกฤทธิ์ได้ดีทั้งการป้องกันโรค และการกำจัดโรคที่เกิดกับพืชปลูกแล้ว
- กำจัดเชื้อราสาเหตุโรคพืชทางดินทั้ง 5 ชนิดที่เป็นสาเหตุสำคัญของโรคเน่าโคนเน่า
1. เชื้อราไฟทอปธอร่า (Phytophthora spp.)
2. เชื้อราพิเทียม (Pythium sp.)
3. เชื้อฟิวซาเรียม (Fusarium spp.)
4. เชื้อราไรซอคโทเนีย (Rhizoctonia spp.)
5. เชื้อราสเคลอโรเทียม (Sclerothium spp.) อัตราและวิธีการใช้ :
- โรคเหี่ยวในมะเขือเทศ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา Sclerothium rolfsii ใช้อัตรา 30 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร พ่นสารลงดินให้ทั่ว โดยพ่นสารครั้งแรกทันทีหลังย้ายกล้า และพ่นซ้ำทุก 14 วัน อย่างน้อย 2 ครั้ง
- โรคกล้าเน่าในเบญจมาศ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา Pythium sp. ใช้อัตรา 40 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร พ่นลงบนวัสดุปลูก อัตรา 1 ลิตร ต่อตารางเมตรก่อนปักชำเบญจมาศ
- โรคเน่าคอดินในฝ้าย ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา Rhizoctonia solani ใช้อัตรา 5 ซีซี ต่อเมล็ดพันธุ์ 1 กิโลกรัม คลุกเมล็ดพันธุ์ฝ้ายก่อนปลูก
"เทอร์ราคลอร์ ซุปเปอร์-เอ็กซ์" สารกำจัดโรคพืชที่เกิดจากเชื้อราได้อย่างเฉียบพลัน เทอร์ราคลอร์ ซุปเปอร์-เอ็กซ์ (Terraclor Super-X)
ชื่อสามัญ : ควินโตซีน (quintozene) + อีไตรไดอะโซล (etridiazole)………...........………… 24% + 6% W/V EC กลุ่มสาร : Aromatic hydrocarbon [กลุ่ม 14]
คุณสมบัติ :
- ประกอบด้วยสารป้องกันกำจัดโรคพืช 2 ชนิด เสริมฤทธิ์ซึ่งกันและกัน ช่วยให้กำจัดเชื้อราสาเหตุโรคพืชได้อย่างเฉียบพลัน
- ออกฤทธิ์ได้ดีทั้งการป้องกันโรค และการกำจัดโรคที่เกิดกับพืชปลูกแล้ว
- กำจัดเชื้อราสาเหตุโรคพืชทางดินทั้ง 5 ชนิดที่เป็นสาเหตุสำคัญของโรคเน่าโคนเน่า
1. เชื้อราไฟทอปธอร่า (Phytophthora spp.)
2. เชื้อราพิเทียม (Pythium sp.)
3. เชื้อฟิวซาเรียม (Fusarium spp.)
4. เชื้อราไรซอคโทเนีย (Rhizoctonia spp.)
5. เชื้อราสเคลอโรเทียม (Sclerothium spp.) อัตราและวิธีการใช้ :
- โรคเหี่ยวในมะเขือเทศ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา Sclerothium rolfsii ใช้อัตรา 30 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร พ่นสารลงดินให้ทั่ว โดยพ่นสารครั้งแรกทันทีหลังย้ายกล้า และพ่นซ้ำทุก 14 วัน อย่างน้อย 2 ครั้ง
- โรคกล้าเน่าในเบญจมาศ ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา Pythium sp. ใช้อัตรา 40 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร พ่นลงบนวัสดุปลูก อัตรา 1 ลิตร ต่อตารางเมตรก่อนปักชำเบญจมาศ
- โรคเน่าคอดินในฝ้าย ที่มีสาเหตุจากเชื้อรา Rhizoctonia solani ใช้อัตรา 5 ซีซี ต่อเมล็ดพันธุ์ 1 กิโลกรัม คลุกเมล็ดพันธุ์ฝ้ายก่อนปลูก